logochaipat

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
  • เผยแพร่
    • วารสาร
    • เอกสารเผยแพร่
    • มัลติมีเดีย
    • โปสเตอร์
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที
    TH Thai EN English |
facebook youtube tiktok icon
logochaipat mobile
facebook  youtube
ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ
  • ความสำคัญของทรัพยากรน้ำ
  • การเลือกพืชบำบัดน้ำเสียและการดูแลรางพืช
  • หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
  • พืชที่ไม่สามารถนำมาใช้ในงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ
  • การดูแลระบบรางพืชกรองน้ำ (plantbed filter)
  • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
  • หน้าแรก
  • กังหันน้ำชัยพัฒนาและเครื่องกลเติมอากาศ
  • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติ
  • หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช

หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช


  1. พืชลอยน้ำ  พืชโผล่พ้นน้ำ ความลึกของระดับน้ำไม่ควรเกิน 1 เมตรได้แก่  แพงพวยน้ำ  บัว ผักตบชวาฯลฯ
  2. พืชแช่น้ำ พืชชายน้ำ    ความลึกของระดับน้ำไม่ควรเกิน 30 เซนติเมตร ได้แก่  พุทธรักษา  ปักษาสวรรค์ เตย

กก ธูปฤาษี

พืชน้ำ (Aquatic plant  ,  water plant) แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ

  1. กลุ่มที่เป็นพืชขนาดเล็กมาก  (microphyta)  สาหร่ายชั้นต่ำ (Algae) และการเกิด Algae bloom

ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าจะสามารถมองเห็นได้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ เช่นสาหร่ายชั้นต่ำ  (algae)  มีลักษณะเป็นแพลงตอน เป็นเส้นสาย  เป็นกลุ่มก้อน

  • ปัญหาน้ำเขียว สาหร่ายออ (Algae bloom)








ภาพที่ 8 สาหร่ายออ แฟ้มที่ 3


  • Blue green algae พืชขนาดเล็กที่ปนเปื้อนในน้ำทำให้น้ำมีสีและมีกลิ่น








ภาพที่ 9 Blue green algae แฟ้มที่ 4


  • Euglenoid ภาพ ศิริพร บุญดาว พืชขนาดเล็กที่พบมากในน้ำนิ่ง








ภาพที่ 10 Euglenoid แฟ้มที่ 5



  1. กลุ่มที่เป็นพืชขนาดใหญ่ (macrophyta) พืชในกลุ่มนี้สามารถนำมาเลือกใช้ในการบำบัดน้ำเสีย โดยเลือกใช้ให้เหมาะสมกับสภาพน้ำ  สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีลักษณะเป็นพืชลอยน้ำ พืชชายน้ำ พืชโผล่พ้นน้ำ และพืชใต้น้ำ

ลักษณะของกลุ่มพืชน้ำที่มีขนาดใหญ่
-  มักมีกิ่งก้าน ต้น หรือใบยาว เพื่อให้เหมาะสมกับระดับน้ำที่เปลี่ยนแปลง
-  มีใบที่แข็งแรงและทนทานต่อการกระเพื่อมของน้ำ
-  มีระบบลำเลียงออกซิเจนไปสู่ราก
-  พวกที่อยู่ใต้น้ำมีการปรับตัวให้ได้รับธาตุอาหารทางใบแทนราก
-  พวกที่อยู่ใต้น้ำจะไม่มีปากใบ เนื่องจากอาหารและอากาศเข้าสู่เนื้อเยื่อได้โดยตรง

ลักษณะของระบบนิเวศแหล่งน้ำ




ภาพที่ 11 ระบบนิเวศ แฟ้มที่ 6

พืชลอยน้ำ ( floating plant)

พืชชนิดนี้จะล่องลอยไปตามกระแสน้ำ หากนำมาใช้จำเป็นต้องกำหนดขอบเขตให้แน่นอน เนื่องจากบางชนิดเป็นวัชพืชน้ำที่ร้ายแรงและเมื่อพืชเริ่มแก่สังเกตได้จากมีการออกดอก เมื่อดอกโรยก็ควรเก็บพืชออกจากแหล่งน้ำ พืชลอยน้ำที่นิยมนำมาใช้ คือ  ผักตบชวา เนื่องจากมีความทนทานต่อสภาพน้ำเสียมากกว่าชนิดอื่น นอกจากนี้ก็มีจอกใหญ่ เป็นต้น ส่วนจอกหูหนู แหนเป็ดที่มีขนาดเล็กจะใช้ในกรณีบังแสงสว่างเพื่อลดการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายชั้นต่ำ(algae)  เป็นการบำบัดน้ำเสียในกรณีเกิดสาหร่ายออ (algae-bloom)





  • Eichhornia  cressipes ผักตบชวา
    พืชลอยน้ำที่มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงคุณภาพน้ำได้ดีแต่เจริญเติบโตเร็วจนมีปัญหาในการควบคุม




ภาพที่ 13 ผักตบชวา แฟ้มที่ 7



พืชชายน้ำ
(  marginal plant)

พืชชนิดนี้จะขึ้นอยู่บนดินริมชายตลิ่ง จึงมีรากที่ต้องอาศัยสิ่งยึดเกาะ การใช้พืชจำพวกนี้มาบำบัด การใช้พืชจำพวกนี้มาบำบัดน้ำเสียจึงจำเป็นต้องจำลองสภาพนิเวศเดิมเอาไว้โดยใช้ทรายเป็นเครื่องยึดเกาะแทนดิน พืชจะใช้สารอาหารจากน้ำในลักษณะของระบบการปลูกพืชแบบไร้ดิน (Hydroponic) พืชที่สามารถนำมาใช้เช่น พุทธรักษา ธูปฤาษี หญ้าแฝก ปักษาสวรรค์ เตยหอม เป็นต้น



  • Typha angustifolia   กกช้าง ธูปฤาษี ทนทานต่อน้ำเสียได้ดีแต่ต้องตัดดอกทิ้งก่อนดอกแก่เนื่องจากผลิตเมล็ดได้มากและเจริญเติบโตเร็วมากจากการแตกหน่อจากลำต้น


ภาพที่ 14 กกช้าง ธูปฤาษี แฟ้มที่ 8

  • Canna  indica พุทธรักษา  พุทธศร เป็นสัญลักษณ์ประจำวันพ่อแห่งชาติ  แช่น้ำได้ดีแต่ควรมีการเติมอากาศร่วมด้วยนอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มความสวยงามให้กับแหล่งน้ำ  ต้นพุทธรักษามีหลากสีหลายพันธุ์สามารถเลือกใช้งานได้ตามความเหมาะสมกับสถานที่  สามารถขยายพันธุ์ได้ง่าย  ราคาถูก









  • ต้นเหงือกปลาหมอขึ้นได้ในที่มีน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม เป็นพืชทนความเค็มได้  ในกรณีเป็นน้ำเสียที่มีน้ำเค็มร่วมด้วยจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีแต่ควรใช้เครื่องเติมอากาศร่วมด้วย




ภาพที่ 16 ต้นเหงือกปลาหมอ แฟ้มที่ 10


พืชโผล่พ้นน้ำ

(emergent  plant)

พืชจำพวกนี้จะมีรากอยู่ใต้ดินก้นน้ำ (ดินตม) และชูใบและดอกอยู่เหนือน้ำ พืชจำพวกนี้เช่น บัวหลวง บัวสาย ปัญหาที่พบคือมักเป็นอาหารของสัตว์น้ำ หากจะใช้ต้องสร้างในลักษณะของระบบการปลูกพืชแบบไร้ดิน

  • บัวสาย     พืชโผล่พ้นน้ำ นอกจากช่วยลดปัญหาน้ำเสียได้แล้วยังเพิ่มความสวยงามให้กับแหล่งน้ำ




ภาพที่ 17 บัวสาย แฟ้มที่ 11


พืชใต้น้ำ
(submerged plant)

พืชจำพวกนี้สามารถดำรงชีวิตยู่ใต้น้ำทั้งส่วนราก ลำต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด ทุกส่วนสามารถอยู่ในน้ำได้ สามารถนำมาใช้บำบัดน้ำเสียได้ดีแต่ก็มักเป็นอาหารของสัตว์น้ำเช่นกัน พืชจำพวกนี้ได้แก่ สาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายฉัตร ดีปลีน้ำ เป็นต้น รากของพืชเหล่านี้จะดูดเอาของเสีย สารอินทรีย์ แร่ธาตุที่พืชต้องการซึ่งปนมากับน้ำ ทำให้คุณภาพน้ำดีขึ้น





  • Hydrilla verticillata สาหร่ายใต้น้ำ  มีทั้งคุณและโทษสามารถทนทานต่อสภาพน้ำเสียแต่เป็นวัชพืชร้ายแรงในแหล่งน้ำชลประทาน






ภาพที่ 19 Hydrilla verticillata แฟ้มที่ 12



  • Potamogeto malaianus เป็นสาหร่ายใต้น้ำที่มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม










พืชที่ไม่สามารถนำมาใช้ในงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ 5 / 7 การเลือกพืชบำบัดน้ำเสียและการดูแลรางพืช
  • E-mail
  • ระบบงานภายใน
  • โครงสร้างเว็บไซต์
  • English
  • ติดต่อมูลนิธิ
  • สมัครงาน
  • แบบฟอร์มขอรับทุนพระราชทาน

ลิขสิทธิ์ © 2016-2017 มูลนิธิชัยพัฒนา (The Chaipattana Foundation) สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านการพัฒนาสังคม
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านอื่น ๆ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
      • โครงการปลูกผักปลอดภัยภายใต้มาตรฐาน GAP
      • โครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง
      • โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์พระราชทานเพื่อนช่วยเพื่อน
  • เผยแพร่
    • วารสาร
      • วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา
      • วารสารป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด
      • วารสารโคกปรงพัฒนา
      • วารสารสวนป่าพฤกษพัฒน์ มูลนิธิชัยพัฒนา
      • หนังสืออื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา
    • เอกสารเผยแพร่
      • เกร็ดความรู้
      • เศรษฐกิจพอเพียง
      • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • แนะนำมูลนิธิ
      • สึนามิ
      • โครงการเยาวชนไทยร่วมใจชัยพัฒนา
      • ผลงานภาพวาดบ้านนี้มีรัก
    • มัลติมีเดีย
      • เรื่องเล่าถึงพ่อ...ผ่านบทสัมภาษณ์ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
      • วีดีโอแนะนำโครงการต่าง ๆ
      • นิทานจันกะผัก
    • โปสเตอร์
      • โปสเตอร์เศรษฐกิจพอเพียง
      • โปสเตอร์กังหันน้ำชัยพัฒนา
      • โปสเตอร์แนะนำมูลนิธิชัยพัฒนา
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
      • รายชื่อวัดที่ขอใช้แบบพระอุโบสถ วัดพระราม ๙ฯ
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • ภาคเหนือตอนบน
      • ภาคเหนือตอนล่าง
      • ภาคกลางตอนบน
      • ภาคกลางตอนล่าง
      • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
      • ภาคตะวันออก
      • ภาคใต้
      • โครงการพิเศษ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอย
      • พระราชดำริ
      • การศึกษา วิจัย และพัฒนา
      • คุณสมบัติ
      • หลักการทำงาน
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
      • หลักเกณฑ์
      • วิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติ
      • การซ่อมบำรุงดูแลรักษาเครื่อง
      • การติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • ความสำคัญของทรัพยากรน้ำ
      • การเลือกพืชบำบัดน้ำเสียและการดูแลรางพืช
      • หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • พืชที่ไม่สามารถนำมาใช้ในงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ
      • การดูแลระบบรางพืชกรองน้ำ (plantbed filter)
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ
      • การบำรุงรักษากังหันน้ำชัยพัฒนา
      • การบำรุงรักษาเครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศกรุงบรัสเซลล์
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธคยา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธประทีป
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ ปตท. สาขาหนองแต่ง สปป.ลาว
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
      • ภัทรพัฒน์
      • จากธรรมชาติ สู่ธรรมชาติ
      • “Harmony of Living” เปลี่ยนสุขภาพของโลกให้ดีขึ้น กับ Bloody Hell Big Head
      • “MIRRORS" ภาพสะท้อนของการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัย
      • “สายใย ชัยพัฒนา” คุณค่าของชีวิตสู่งานศิลปะสไตล์ THE DUANG
      • “Together” ความอบอุ่นของการได้อยู่ร่วมกัน
      • “Land of Luck” ดินแดนแห่งความโชคดี ภายใต้โครงการด้านการเกษตร ในมุมมองของ SIRI
      • “GIVE” เพราะการให้เงิน ไม่เท่าการให้ความรู้ ถอดบทเรียนจากโครงการด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
      • ความเป็นมาของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
      • ด้านการเพิ่มศักยภาพทางการตลาดให้ชุมชน (ร้านภัทรพัฒน์)
      • หลักสูตรผู้นำการพัฒนาอย่างยั่งยืน
      • โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ
      • ด้านการพัฒนาสังคม
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที