logochaipat

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
  • เผยแพร่
    • วารสาร
    • เอกสารเผยแพร่
    • มัลติมีเดีย
    • โปสเตอร์
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที
    TH Thai EN English |
facebook youtube tiktok icon
logochaipat mobile
facebook  youtube
  • 30 เรื่องพิเศษ
  • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
  • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
  • ภาพยนตร์สารคดี
  • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
  • กิจกรรมในงาน
  • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที

เรื่อง “Genius”

14

        12 กุมภาพันธ์ 2524
        ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรบริเวณต้นน้ำแม่แตงในพื้นที่โครงการหลวงแกน้อย และโครงการหลวงพัฒนาที่ดินห้วยลึก อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยทรงให้พิจารณาบริเวณที่เหมาะสมเพื่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก กระทั่ง...
       19 ตุลาคม 2547
       หรือ 23 ปีต่อมา พระราชดำริดังกล่าวยังไม่ปรากฏเป็นรูปร่าง ในหลวงรัชกาลที่ 9 พร้อมด้วยกรมสมเด็จพระเทพฯ ได้รับสั่งถึงเรื่องดังกล่าวอีกครั้งขณะเสด็จฯ ไปงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จัดขึ้นที่เมืองทองธานี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล และผู้ที่ตามเสด็จวันนั้นจึงไม่เข้าใจว่ามีรับสั่งถึงเรื่องอะไรและอยู่ที่ไหน
       ต่อมา ดร.สุเมธและคณะสำรวจได้สนองพระราชดำริด้วยการออกสืบค้นข้อมูล โดยลงพื้นที่จุดแรกที่ “ถ้ำเชียงดาว” แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จ บังเอิญวันนั้นเจ้าหน้าที่มูลนิธิฯ ที่กรุงเทพฯ ได้เข้าเฝ้าฯ กรมสมเด็จพระเทพฯ คณะสำรวจจึงโชคดีได้รับพระมหากรุณาธิคุณผ่านทางโทรศัพท์ โดยมีรับสั่งว่า “โครงการหลวงห้วยลึก” ตำบลปิงโค้ง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
       เมื่อได้ทราบ “คีย์เวิร์ด” เพิ่มเติม คณะสำรวจพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ชลประทานจึงเดินทางไปทันที และได้นำความกราบบังคมทูลรายงานความก้าวหน้าของการสำรวจ ภายหลังในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพระเมตตา พระราชทานลายพระหัตถ์กำหนดพิกัดเป็น “เครื่องหมายกากบาท 3 จุดลงในแผนที่” ซึ่งในที่สุดพบว่าคือภูเขาหินปูนที่ภายในมีโพรงถ้ำขนาดใหญ่ สามารถกักเก็บน้ำได้ตามพระราชประสงค์
        เมื่อการก่อสร้างสันเขื่อนหน้าปากถ้ำระดับความสูง 12.5 เมตรแล้วเสร็จ ด้วยงบประมาณเพียง 13.5 ล้านบาท...
        3 สิงหาคม 2549
       กรมสมเด็จพระเทพฯ เสด็จฯ มาทรงเปิด “โครงการระบบกักเก็บน้ำในถ้ำตามพระราชดำริ (ถ้ำห้วยลึก)” โครงการที่มีวิธีการกักเก็บน้ำแบบใหม่ซึ่งยังไม่เคยมีใครทำมาก่อน ซึ่งช่วยลดการระเหยของน้ำทำให้ระดับน้ำใต้ดินเพิ่มขึ้น พื้นดินจึงมีความชุ่มชื้นขึ้น จากที่ก่อนหน้านี้เมื่อถึงฤดูแล้ง พื้นที่ก็จะแห้งแล้ง ส่วนในฤดูน้ำหลาก น้ำจะไหลเรื่อยออกมาจากถ้ำไปตามลำน้ำเล็ก ๆ ทว่าน่าเสียดายที่ไม่ได้มีการกักเก็บไว้ใช้ประโยชน์แต่อย่างใด
        “ทีแรกพอหน้าแล้งเห็นน้ำแห้ง นึกว่าไม่สำเร็จ แต่เมื่อไปสำรวจบ่อน้ำชาวบ้านข้างล่าง น้ำเต็มหมด เกิดจากกระบวนการค่อยเติม คือช่วยชะลอน้ำให้ค่อย ๆ ไหลลงไปข้างล่างเพื่อให้ผ่านฤดูกาลนั้นไปได้”
       แต่ทราบหรือไม่ว่า กว่า “อ่างเก็บน้ำในถ้ำ” (ที่เกือบถูกลืม) จะได้รับการยอมรับว่าเป็นนวัตกรรมใหม่สำหรับเมืองไทยและของโลก แม้คณะทำงานเองก็ยังไม่เข้าใจถึงประโยชน์ของการ “ซึม” คิดเพียงว่าเกิดการ “รั่ว” ของน้ำ ถึงขนาดจะอุดด้วยสเปรย์ซีเมนต์ เพราะมุ่งแต่ว่าน้ำต้องเก็บในถ้ำให้ได้ โดยลืมคิดถึงการซึมโดยใช้กระบวนการธรรมชาติ
       ผู้เชี่ยวชาญถึงกับต้องส่งอีเมลคุยกับเพื่อนชาวต่างชาติ ว่าเคยทำเขื่อนปิดปากถ้ำหินปูนหรือไม่ กระทั่งเพื่อนคนหนึ่งถามกลับมาว่า ใครเป็นคนคิดทำสิ่งนี้
       “My King”
       ข้อความที่ตอบกลับมาคือ…
       “Genius”

เรื่อง “หลายคนไม่เคยรู้ว่าหลังธนบัตรสีเทามีเรื่องราวอะไร สนใจแต่ว่าเป็นแบงก์พัน” 14 / 31 เรื่อง “ถ้ำน้ำฮูรายทาง” สานต่องานที่พ่อทำ

ลิขสิทธิ์ © 2016-2017 มูลนิธิชัยพัฒนา (The Chaipattana Foundation) สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านการพัฒนาสังคม
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านอื่น ๆ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
      • โครงการปลูกผักปลอดภัยภายใต้มาตรฐาน GAP
      • โครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง
      • โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์พระราชทานเพื่อนช่วยเพื่อน
  • เผยแพร่
    • วารสาร
      • วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา
      • วารสารป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด
      • วารสารโคกปรงพัฒนา
      • วารสารสวนป่าพฤกษพัฒน์ มูลนิธิชัยพัฒนา
      • หนังสืออื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา
    • เอกสารเผยแพร่
      • เกร็ดความรู้
      • เศรษฐกิจพอเพียง
      • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • แนะนำมูลนิธิ
      • สึนามิ
      • โครงการเยาวชนไทยร่วมใจชัยพัฒนา
      • ผลงานภาพวาดบ้านนี้มีรัก
    • มัลติมีเดีย
      • เรื่องเล่าถึงพ่อ...ผ่านบทสัมภาษณ์ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
      • วีดีโอแนะนำโครงการต่าง ๆ
      • นิทานจันกะผัก
    • โปสเตอร์
      • โปสเตอร์เศรษฐกิจพอเพียง
      • โปสเตอร์กังหันน้ำชัยพัฒนา
      • โปสเตอร์แนะนำมูลนิธิชัยพัฒนา
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
      • รายชื่อวัดที่ขอใช้แบบพระอุโบสถ วัดพระราม ๙ฯ
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • ภาคเหนือตอนบน
      • ภาคเหนือตอนล่าง
      • ภาคกลางตอนบน
      • ภาคกลางตอนล่าง
      • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
      • ภาคตะวันออก
      • ภาคใต้
      • โครงการพิเศษ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอย
      • พระราชดำริ
      • การศึกษา วิจัย และพัฒนา
      • คุณสมบัติ
      • หลักการทำงาน
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
      • หลักเกณฑ์
      • วิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติ
      • การซ่อมบำรุงดูแลรักษาเครื่อง
      • การติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • ความสำคัญของทรัพยากรน้ำ
      • การเลือกพืชบำบัดน้ำเสียและการดูแลรางพืช
      • หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • พืชที่ไม่สามารถนำมาใช้ในงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ
      • การดูแลระบบรางพืชกรองน้ำ (plantbed filter)
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ
      • การบำรุงรักษากังหันน้ำชัยพัฒนา
      • การบำรุงรักษาเครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศกรุงบรัสเซลล์
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธคยา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธประทีป
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ ปตท. สาขาหนองแต่ง สปป.ลาว
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
      • ภัทรพัฒน์
      • จากธรรมชาติ สู่ธรรมชาติ
      • “Harmony of Living” เปลี่ยนสุขภาพของโลกให้ดีขึ้น กับ Bloody Hell Big Head
      • “MIRRORS" ภาพสะท้อนของการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัย
      • “สายใย ชัยพัฒนา” คุณค่าของชีวิตสู่งานศิลปะสไตล์ THE DUANG
      • “Together” ความอบอุ่นของการได้อยู่ร่วมกัน
      • “Land of Luck” ดินแดนแห่งความโชคดี ภายใต้โครงการด้านการเกษตร ในมุมมองของ SIRI
      • “GIVE” เพราะการให้เงิน ไม่เท่าการให้ความรู้ ถอดบทเรียนจากโครงการด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
      • ความเป็นมาของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
      • ด้านการเพิ่มศักยภาพทางการตลาดให้ชุมชน (ร้านภัทรพัฒน์)
      • หลักสูตรผู้นำการพัฒนาอย่างยั่งยืน
      • โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ
      • ด้านการพัฒนาสังคม
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที