logochaipat

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
  • เผยแพร่
    • วารสาร
    • เอกสารเผยแพร่
    • มัลติมีเดีย
    • โปสเตอร์
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที
    TH Thai EN English |
facebook youtube tiktok icon
logochaipat mobile
facebook  youtube
  • หน้าแรก
  • เอกสารเผยแพร่
  • เกร็ดความรู้
  • สึนามิ

สึนามิ

  • สึนามิ รูปภาพ 1

tsunami

ศัพท์ควรรู้ในโครงการพระราชดำริ

 

 

     โดย ศุลีพร บุญบงการ

 

 

โลกมีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงในแต่ละ

 

ครั้งก่อให้เกิดผลสืบเนื่องที่ตามมา ที่มนุษย์เรียกว่า ภัยธรรมชาติ ความรุนแรงมากน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของการเกิด และสภาวะแวดล้อม คลื่นยักษ์สึนามิ ถือเป็นภัยธรรมชาติอย่างหนึ่งที่ได้คร่าชีวิตของผู้คน และสร้างความเสียหายไว้อย่างมากมายมหาศาล

 

โดยเฉพาะเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้สร้างความ

 

สูญเสีย และสะเทือนขวัญครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งที่ประวัติศาสตร์โลกต้องจารึกไว้ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงห่วงใยในความเดือดร้อนของผู้ประสบภัย มูลนิธิชัยพัฒนาจึงได้ลงไปให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มที่ โดยใช้งบประมาณจากกองทุนฟื้นฟูภาคใต้ที่ผู้มีจิตศรัทธาได้บริจาคกันเข้ามาอย่างไม่อย่างขาดสาย นับเป็นภารกิจสำคัญภารกิจหนึ่งของมูลนิธิที่นอกจากจะพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่แล้ว ยังเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างยั่งยืนอีกด้วย  

 

Tsunami หรือ สึนามิ เป็นคำมาจากภาษาญี่ปุ่น ซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า

 

harbor wave หรือ คลื่นที่เข้าสู่อ่าว ฝั่ง หรือท่าเรือ ซึ่งคำว่า harbor แปลว่าท่าเรือ harbor สะกดแบบไม่มีตัว u เป็นการสะกดแบบอเมริกัน ส่วน harbour เป็นการสะกดแบบอังกฤษ โดยคำว่า Tsu หมายถึง อ่าว ฝั่ง หรือท่าเรือ และ Nami หมายถึง คลื่น

 

                        สึนามิจึงเป็นชื่อคลื่นชนิดหนึ่งที่มีความยาวของคลื่นค่อนข้างมาก และช่วงห่างระยะเวลาของแต่ละลูกคลื่นยาวนาน ซึ่งคำว่า ขนาดของคลื่น นั้น ใช้คำว่า amplitude คือระยะทางระหว่างยอดคลื่นเทียบกับค่าเฉลี่ย คลื่นสึนามินี้มักสัมพันธ์กับการเกิดแผ่นดินไหว ดังนั้นคลื่นสึนามิจึงสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า seismic sea wave ซึ่ง seismic แปลว่า ที่เกี่ยวกับ หรือเกิดจากแผ่นดินไหว ส่วนสาเหตุการเกิดอื่นๆ มีอีกหลายประการ เช่น

 

 

-                      เกิดจากการระเบิดอย่างรุนแรงของภูเขาไฟ เช่นเหตุการณ์ที่การากัว เมื่อปี 2426 การระเบิดของภูเขาไฟ แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า volcanic eruption คำว่า volcano แปลว่าภูเขาไฟ ส่วนคำว่า eruption แปลว่า การระเบิดอย่างรุนแรง

 

-                      เกิดจากแผ่นดินถล่ม เช่นเหตุการณ์ที่อ่าวซากามิ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี 2476 ซึ่ง แผ่นดินถล่ม ภาษาอังกฤษใช้คำว่า landslide ซึ่งมีอีกความหมายหนึ่งคือ ชัยชนะที่ถล่มทลายในการเลือกตั้งของพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

 

-                      เกิดจากการที่ก้อนหินตกลงในอ่าวหรือมหาสมุทร เช่นเหตุการณ์ที่อ่าวลิทูยา อลาสกา เมื่อปี 2476

 

-                      เกิดจาก การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก ด้วยแรง tectonics ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหว เช่นเหตุการณ์อลาสกันซูนาม ที่อลาสกาในปี 2507 และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย โดยมีศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่ประเทศอินโดนีเซีย คำว่า แผ่นเปลือกโลก ภาษาอังกฤษใช้คำว่า plate คำว่า plate นี้มีความหมายหลายอย่าง เช่น จานอาหาร หรือป้ายทะเบียนรถยนต์ แต่สามารถแปลว่าแผ่นเปลือกโลกได้เช่นเดียวกัน ส่วนคำว่า เปลือกโลก นั้นใช้คำว่า crust

 

-                      เกิดจากการระเบิดใต้น้ำจากการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ และการจากการพุ่งลงของ

 

อุกาบาต แต่เกิดขึ้นน้อยครั้งมาก

 

 

ขอเพิ่มคำว่า ภัยธรรมชาติ อีกคำหนึ่ง ซึ่งภาษาอังกฤษใช้คำว่า natural disaster 

 

คำว่า natural มาจากคำว่า nature ที่แปลว่า ธรรมชาติ และคำว่า disaster แปลว่า ภัยพิบัติ  ซึ่งสามารถใช้คำว่า catastrophe ได้เช่นเดียวกัน

 

                        แม้ว่าภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิจะมีความรุนแรงใหญ่หลวงนัก แต่นับว่าไม่ได้เป็นภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งนักในประเทศไทย            แต่ถ้าเถึงธรรมชาติของมหันตภัยนี้ รวมทั้งวิธีการระวังป้องกัน ความเสียหายและสูญเสียอาจไม่รุนแรงใหญ่หลวงดังเช่นในอดีต      

 

 

 

สนับสนุนข้อมูลโดย           อาจารย์วรเวชช์ อ่อนน้อม นักภูมิศาสตร์

 

ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

 

 

และหนังสือ คลื่นยักษ์สึนามิ คลื่นอภิมหาภัย ซึ่งจัดพิมพ์โดยมูลนิธิชัยพัฒนา   

 

                         

 

หญ้าแฝก 6 / 11 เศรษฐกิจพอเพียง
  • E-mail
  • ระบบงานภายใน
  • โครงสร้างเว็บไซต์
  • English
  • ติดต่อมูลนิธิ
  • สมัครงาน
  • แบบฟอร์มขอรับทุนพระราชทาน

ลิขสิทธิ์ © 2016-2017 มูลนิธิชัยพัฒนา (The Chaipattana Foundation) สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านการพัฒนาสังคม
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านอื่น ๆ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
      • โครงการปลูกผักปลอดภัยภายใต้มาตรฐาน GAP
      • โครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง
      • โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์พระราชทานเพื่อนช่วยเพื่อน
  • เผยแพร่
    • วารสาร
      • วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา
      • วารสารป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด
      • วารสารโคกปรงพัฒนา
      • วารสารสวนป่าพฤกษพัฒน์ มูลนิธิชัยพัฒนา
      • หนังสืออื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา
    • เอกสารเผยแพร่
      • เกร็ดความรู้
      • เศรษฐกิจพอเพียง
      • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • แนะนำมูลนิธิ
      • สึนามิ
      • โครงการเยาวชนไทยร่วมใจชัยพัฒนา
      • ผลงานภาพวาดบ้านนี้มีรัก
    • มัลติมีเดีย
      • เรื่องเล่าถึงพ่อ...ผ่านบทสัมภาษณ์ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
      • วีดีโอแนะนำโครงการต่าง ๆ
      • นิทานจันกะผัก
    • โปสเตอร์
      • โปสเตอร์เศรษฐกิจพอเพียง
      • โปสเตอร์กังหันน้ำชัยพัฒนา
      • โปสเตอร์แนะนำมูลนิธิชัยพัฒนา
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
      • รายชื่อวัดที่ขอใช้แบบพระอุโบสถ วัดพระราม ๙ฯ
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • ภาคเหนือตอนบน
      • ภาคเหนือตอนล่าง
      • ภาคกลางตอนบน
      • ภาคกลางตอนล่าง
      • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
      • ภาคตะวันออก
      • ภาคใต้
      • โครงการพิเศษ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอย
      • พระราชดำริ
      • การศึกษา วิจัย และพัฒนา
      • คุณสมบัติ
      • หลักการทำงาน
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
      • หลักเกณฑ์
      • วิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติ
      • การซ่อมบำรุงดูแลรักษาเครื่อง
      • การติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • ความสำคัญของทรัพยากรน้ำ
      • การเลือกพืชบำบัดน้ำเสียและการดูแลรางพืช
      • หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • พืชที่ไม่สามารถนำมาใช้ในงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ
      • การดูแลระบบรางพืชกรองน้ำ (plantbed filter)
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ
      • การบำรุงรักษากังหันน้ำชัยพัฒนา
      • การบำรุงรักษาเครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศกรุงบรัสเซลล์
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธคยา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธประทีป
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ ปตท. สาขาหนองแต่ง สปป.ลาว
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
      • ภัทรพัฒน์
      • จากธรรมชาติ สู่ธรรมชาติ
      • “Harmony of Living” เปลี่ยนสุขภาพของโลกให้ดีขึ้น กับ Bloody Hell Big Head
      • “MIRRORS" ภาพสะท้อนของการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัย
      • “สายใย ชัยพัฒนา” คุณค่าของชีวิตสู่งานศิลปะสไตล์ THE DUANG
      • “Together” ความอบอุ่นของการได้อยู่ร่วมกัน
      • “Land of Luck” ดินแดนแห่งความโชคดี ภายใต้โครงการด้านการเกษตร ในมุมมองของ SIRI
      • “GIVE” เพราะการให้เงิน ไม่เท่าการให้ความรู้ ถอดบทเรียนจากโครงการด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
      • ความเป็นมาของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
      • ด้านการเพิ่มศักยภาพทางการตลาดให้ชุมชน (ร้านภัทรพัฒน์)
      • หลักสูตรผู้นำการพัฒนาอย่างยั่งยืน
      • โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ
      • ด้านการพัฒนาสังคม
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที