logochaipat

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
  • เผยแพร่
    • วารสาร
    • เอกสารเผยแพร่
    • มัลติมีเดีย
    • โปสเตอร์
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที
    TH Thai EN English |
facebook youtube tiktok icon
logochaipat mobile
facebook  youtube
  • หน้าแรก
  • เอกสารเผยแพร่
  • เกร็ดความรู้
  • จาก รัชดาภิเษก ถึง พัชราภิเษก

จาก รัชดาภิเษก ถึง พัชราภิเษก

640 fdh7fhb9ej7hbe6768cec 

โดย  รองศาสตราจารย์ ประวิตร ชูศิลป์                                                                              มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม                                               

                      เมื่อปี 2538   ผู้เขียนได้เคยเขียนบทความเรื่อง  กาญจนาภิเษก  ซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ สยามรัฐ รายวัน  ฉบับประจำวันอังคารที่ 28  พฤศจิกายน 2538 (หน้า 8)    และในบทความตอนหนึ่งได้กล่าวไว้ว่า  ตามประเพณีที่มีมาแต่โบราณนั้น  เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชย์ยาวนานครบ 25 ปี  ก็จะมีการเฉลิมฉลอง หรือพิธีขึ้นเสวยราชย์ของพระจ้าแผ่นดินที่เรียกว่า  รัชดาภิเษก (Silver Jubilee) คำว่า รัชด หรือรัชต  มีความหมายว่า เงิน (สนธิกับคำว่า อภิเษก)  ซึ่งในรัชกาลปัจจุบันก็ได้เกิดขึ้นไปแล้ว เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2514     และรัฐบาลในสมัยนั้นก็ได้ตั้งชื่อ สิ่งที่เป็นสาธารณประโยชน์ที่ทุกคนคุ้นเคยชื่อกันดีอย่างหนึ่ง ก็คือ ถนนรัชดาภิเษก ในกรุงเทพมหานคร   และเมื่อครองราชย์ครบ 50 ปี ก็จะมีการเฉลิม ฉลองหรือพิธีการสำคัญที่เรียกว่า กาญจนาภิเษก(Golden Jubilee) กาญจน แปลว่า ทอง ซึ่งก็ได้เกิดขึ้นในราชอาณาจักรไทยไปแล้วเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2539 โดยก่อนที่จะมีพิธีการ กาญจนาภิเษก  ก็ได้มีการเฉลิมฉลองการครองราชย์ ที่เรียกว่า  รัชมังคลาภิเษก   ในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน ได้ดำรงสิริราชสมบัติมายาว นานยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในอดีต   เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2531  ซึ่งในประวัติ ศาสตร์ของชาติไทยก่อนนี้ พระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวนานที่สุดในสมัยกรุงศรีอยุธยา ก็คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  ครองราชย์นาน 40 ปี ( พ.ศ. 1991-2031)    และในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ก็คือ รัชกาลที่ 5  พระปิยมหาราช  ครองราชย์นาน 42 ปี (พ.ศ. 2411-2453)   ดังนั้นในวันที่ 2 กรกฎาคม 2531  จึงเป็นวาระที่รัชกาลปัจจุบันทรงดำรงสิริราชสมบัติมานานเกิน 42 ปี และมีการเฉลิมฉลอง รัชมังคลาภิเษก ขึ้น    ในบทความครั้งนั้น ผู้เขียนยังได้เขียนไว้ว่า   ถ้าพระมหากษัตริย์ ครองราชสมบัติยาวนานครบถึง 60 ปี   ก็จะมีพิธีการเฉลิมฉลองที่สำคัญยิ่งของชาติ  ที่เรียกว่า Diamond Jubilee  ซึ่งเคยเกิดขึ้นมาแล้วครั้งหนึ่งในโลกนี้ ที่ประเทศอังกฤษ  ในรัชสมัยของ สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรีย(Victoria Alexandrina) ที่ทรงครองราชย์อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2380-2444     จนถึงในขณะนี้ ผู้เขียนยังไม่แน่ใจหรือได้ยินว่า ทางราชการหรือผู้เชี่ยวชาญทางภาษา

Diamond Jubilee นี้ตรงกับภาษาไทยว่าอะไรเพราะเมื่อตรวจสอบจากพจนานุกรม

2546 แล้ว ก็ยังไม่ปรากฏคำนี้    ผู้เขียนได้บอกในบทความที่เขียนเมื่อสิบปีมาแล้วนั้นไว้ว่า ภาษาไทยน่าจะใช้คำว่า  พัชราภิเษก (Diamond Jubilee)  คำว่า พัชร  แปลว่า เพชร (ยังมีคำอื่น ๆ อีก ที่แปลว่า เพชร)โดยขอให้ผู้อ่านได้รอดูกันในอีกสิบปีข้างหน้า         

จากรัชดาภิเษก ถึง พัชราภิเษก   นั้น  มิได้บังอาจจะเสนอ

9 มิถุนายน 2549 ซึ่งยังเหลือเวลาอีกไม่ถึงเจ็ดเดือนนี้แล้ว    ในประวัติศาสตร์ของชาติไทยที่ผ่านพ้นมา ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ยุคปัจจุบัน(พ.ศ. 1800-2548) หรือประมาณเกือบ 800 ปีนั้น  ยังไม่เคยปรากฏว่า ได้มีบรรพบุรุษคนไทยเราในยุค สมัยใด จะโชคดีเท่าคนไทยในสมัยรัชกาลปัจจุบัน ที่จะได้มีโอกาสเฉลิมฉลองการครองราชย์นานครบ 60 ปีในอีกไม่นานนี้แล้ว   จึงถือเป็นสิริมงคลของชีวิตพวกเราอย่างยิ่ง       จากพระราชกรณียกิจในแต่ละวันที่ปรากฏทางสื่อสารมวลชน จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ล้วนเป็นไปเพื่อบำบัดทุกข์ บำรุงสุข และเพื่อการพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญแบบยั่งยืนทั้งสิ้น    กล่าวได้ว่า ความมั่นคงของชาติบ้านเมืองไทยในปัจจุบันนี้ มาจากการที่คนไทยเรามีพระมหากษัตริย์ที่ประเสริฐ และทรงทศพิธราชธรรม  อันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป  และไม่เฉพาะแต่คนไทยเราเท่านั้น

60 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน 2549 นี้  เราคนไทยทุกคนที่อยู่ใต้ร่มโพธิสมภาร  ก็ควรจะได้คิด แล้วทำแต่สิ่งที่ดีงาม  และเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมในภาคปฏิบัติจริง ๆ ให้มากขึ้น ยิ่งกว่า การกล่าวคำถวายสัตยปฏิญาณเพียงอย่างเดียว    เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายพระองค์ท่านบ้าง   ไม่ว่าจะเป็นคนในหน่วยงานราชการหรือเอกชนระดับใด   องค์กรอิสระ   ชมรม  สมาคม  และทุกเชื้อชาติ- ศาสนา ที่ได้อาศัยแผ่นดินไทยเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยดำรงชีพ  ควรจะต้องสำนึกถึงพระมหากรุณาธิคุณไว้เหนือเกล้าฯ  ด้วยการร่วมมือร่วมใจกันทำกิจกรรมสาธารณ ประโยชน์ต่าง ๆ  และร่วมใจร่วมมือกันทำให้บ้านเมืองของเราสงบสุข    หัวหน้าหน่วยงานใดทุกระดับที่ยังมิได้คิดว่าจะทำอะไร  พึงต้องรีบไป คิดค้น วางแผน  และนำ เพื่อนผู้ร่วมงาน และ/หรือประชาชน  ร่วมกันลงมือปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมขึ้นมาด้วย         ในฐานะที่ผู้เขียนเป็นข้าราชการ ใคร่ขอเสนอว่า  หน่วยงานทางราชการใด ที่ยังไม่ได้คิดกิจกรรมอะไรไว้ นอกเหนือไปจากการคิดโครงการเพื่อให้ได้งบประมาณมาสร้างตึก   สร้างอาคาร   ก็ขออนุญาตเสนอให้ทำในเรื่องที่จะเป็นการช่วยยก คุณภาพ ของงาน ที่เป็นภารกิจของหน่วย

                                                                                                                                       23 พฤศจิกายน2548

Previous item 1 / 11 ดิน
  • E-mail
  • ระบบงานภายใน
  • โครงสร้างเว็บไซต์
  • English
  • ติดต่อมูลนิธิ
  • สมัครงาน
  • แบบฟอร์มขอรับทุนพระราชทาน

ลิขสิทธิ์ © 2016-2017 มูลนิธิชัยพัฒนา (The Chaipattana Foundation) สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ
    • ความเป็นมา
    • วัตถุประสงค์
    • แนวทางการดำเนินงาน
    • กิจกรรมหลักของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านการพัฒนาสังคม
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านอื่น ๆ
    • ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิ
    • คณะกรรมการมูลนิธิ
  • โครงการพระราชดำริ
    • ภาคเหนือตอนบน
    • ภาคเหนือตอนล่าง
    • ภาคกลางตะวันออก
    • ภาคกลางตะวันตก
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
    • ภาคใต้
    • โครงการกิจกรรมพิเศษ
      • โครงการปลูกผักปลอดภัยภายใต้มาตรฐาน GAP
      • โครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง
      • โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์พระราชทานเพื่อนช่วยเพื่อน
  • เผยแพร่
    • วารสาร
      • วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา
      • วารสารป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด
      • วารสารโคกปรงพัฒนา
      • วารสารสวนป่าพฤกษพัฒน์ มูลนิธิชัยพัฒนา
      • หนังสืออื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา
    • เอกสารเผยแพร่
      • เกร็ดความรู้
      • เศรษฐกิจพอเพียง
      • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • แนะนำมูลนิธิ
      • สึนามิ
      • โครงการเยาวชนไทยร่วมใจชัยพัฒนา
      • ผลงานภาพวาดบ้านนี้มีรัก
    • มัลติมีเดีย
      • เรื่องเล่าถึงพ่อ...ผ่านบทสัมภาษณ์ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
      • วีดีโอแนะนำโครงการต่าง ๆ
      • นิทานจันกะผัก
    • โปสเตอร์
      • โปสเตอร์เศรษฐกิจพอเพียง
      • โปสเตอร์กังหันน้ำชัยพัฒนา
      • โปสเตอร์แนะนำมูลนิธิชัยพัฒนา
    • แบบพระอุโบสถวัดพระราม ๙
      • รายชื่อวัดที่ขอใช้แบบพระอุโบสถ วัดพระราม ๙ฯ
  • ข่าว
    • ข่าวสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    • ข่าวผู้บริหารมูลนิธิชัยพัฒนา
    • ข่าวสารทั่วไป
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • รายงานความก้าวหน้าโครงการ
      • ภาคเหนือตอนบน
      • ภาคเหนือตอนล่าง
      • ภาคกลางตอนบน
      • ภาคกลางตอนล่าง
      • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
      • ภาคตะวันออก
      • ภาคใต้
      • โครงการพิเศษ
    • ระบบติดตามตรวจสอบย้อนกลับ Chaipattana Traceability QR Code
  • แนวคิดและทฤษฏี
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องน้ำ
    • แนวคิดและทฤษฎีเรื่องดิน
    • น้ำดีไล่น้ำเสีย
    • ฝนหลวง
    • เครื่องดักหมอก
    • การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    • การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
    • ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
    • ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้
    • เส้นทางเกลือ
    • การบำบัดน้ำเสียด้วยพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
    • การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร
    • ทฤษฎีใหม่
  • กังหันน้ำชัยพัฒนา
    • กังหันน้ำชัยพัฒนา RX-2
      • เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอย
      • พระราชดำริ
      • การศึกษา วิจัย และพัฒนา
      • คุณสมบัติ
      • หลักการทำงาน
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การขอความอนุเคราะห์การติดตั้ง
      • หลักเกณฑ์
      • วิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติ
      • การซ่อมบำรุงดูแลรักษาเครื่อง
      • การติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    • ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • ความสำคัญของทรัพยากรน้ำ
      • การเลือกพืชบำบัดน้ำเสียและการดูแลรางพืช
      • หลักการทั่วไปของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยพืช
      • พืชที่ไม่สามารถนำมาใช้ในงานปรับปรุงคุณภาพน้ำ
      • การดูแลระบบรางพืชกรองน้ำ (plantbed filter)
      • สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
    • การติดตั้งและบำรุงรักษา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ
      • การบำรุงรักษากังหันน้ำชัยพัฒนา
      • การบำรุงรักษาเครื่องกลเติมอากาศ RX-5C
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศกรุงบรัสเซลล์
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธคยา
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศวัดพุทธประทีป
      • การติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศ ปตท. สาขาหนองแต่ง สปป.ลาว
  • บริจาค
  • 30ปีมูลนิธิชัยพัฒนา
    • 30 เรื่องพิเศษ
    • 8 ผลงานนักวาดภาพประกอบ
      • ภัทรพัฒน์
      • จากธรรมชาติ สู่ธรรมชาติ
      • “Harmony of Living” เปลี่ยนสุขภาพของโลกให้ดีขึ้น กับ Bloody Hell Big Head
      • “MIRRORS" ภาพสะท้อนของการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัย
      • “สายใย ชัยพัฒนา” คุณค่าของชีวิตสู่งานศิลปะสไตล์ THE DUANG
      • “Together” ความอบอุ่นของการได้อยู่ร่วมกัน
      • “Land of Luck” ดินแดนแห่งความโชคดี ภายใต้โครงการด้านการเกษตร ในมุมมองของ SIRI
      • “GIVE” เพราะการให้เงิน ไม่เท่าการให้ความรู้ ถอดบทเรียนจากโครงการด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ
    • แรงบันดาลใจแห่งชัยชนะ
    • ภาพยนตร์สารคดี
    • เกี่ยวกับมูลนิธิชัยพัฒนา
      • ความเป็นมาของมูลนิธิ
      • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
      • ด้านการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม
      • ด้านการพัฒนาการเกษตร
      • ด้านพลังงาน
      • ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
      • ด้านการเพิ่มศักยภาพทางการตลาดให้ชุมชน (ร้านภัทรพัฒน์)
      • หลักสูตรผู้นำการพัฒนาอย่างยั่งยืน
      • โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ
      • ด้านการพัฒนาสังคม
    • กิจกรรมในงาน
    • จากนภาผ่านภูผาสู่มหานที